โรครากเน่าโคนเน่าในขนุน
เตือนภัยกษตรกรผู้ปลูกขนุน เฝ้าระวัง "โรครากเน่า?โคน?เน่า?ในขนุน"
Last Update : 10:07:29 17/10/2019
โรคสแคปในมะม่วง
โรคสแคปในมะม่วง? Mango scab สาเหตุ?เกิดจาก?เชื้อ?รา? Elsino?? mangiferae? Bitanc.? &? Jenkins
Last Update : 10:07:08 17/10/2019
หนอนเจาะฝักลายจุด
เกษตรกรผู้ปลูกถั่วฝักยาว เร่งเฝ้าระวัง หนอนเจาะฝักลายจุด (Bean pod-borer) เข้าทำลายถั่วฝักยาว ทั้งในระยะติดดอกและออกฝัก
Last Update : 13:41:22 17/07/2019
โรคราน้ำฝน
"โรคราน้ำฝน" ที่จะมาพร้อมกับฤดูฝนที่กำลังมา คาดน่าจะมีความรุนแรงและพบมากในพื้นที่จังหวัดตอนบนของประเทศ ได้แก่ ลำพูน เชียงใหม่ เชียงราย น่าน พะเยาและตาก
Last Update : 11:40:46 17/07/2019
เพลี้ยอ่อน
ช่วงนี้เริ่มเข้าสู่ฤดูฝน เกษตรกรในหลายพื้นที่เริ่มเตรียมแปลงเพาะปลูกผักนานาชนิด ทั้งช่วงนี้กระแสราคาผลผลิตพืชผักราคาต่อกิโลกรัมสูงขึ้น
Last Update : 11:38:56 17/07/2019
แอ็กดิค
Brand : ยักษ์ใหญ่
Last Update : 10:30:18 30/01/2020
ออนเนอร์
Last Update : 12:04:56 01/04/2019
ไฟว์โกร
Last Update : 11:35:46 01/04/2019
แอ็กมิดา โกลด์
Last Update : 11:33:34 01/04/2019
คลอร์ดี
Last Update : 10:45:10 01/04/2019

โรคใบจุดสาหร่าย (Algal spot)

Last Update: 15:53:51 16/05/2018
Page View (2180)

ลักษณะอาการของโรค

ส่วนมากจะเกิดที่ใบ โดยเกิดจุดค่อนข้างกลม ขนาด 0.3-0.5 ซม. เริ่มแรกจะเป็นจุดสีเขียว ต่อมาจะพัฒนาขยายขนาดขึ้นและสร้างสปอร์ ทำให้จุดมีสีเปลี่ยนไปคล้ายสีสนิมหรือน้ำตาลแดง ผิวมีลักษณะเป็นขุยคล้ายกำมะหยี่ จุดจะเกิดกระจายทั่วใบ ในใบแก่ที่มีจุดสนิมมากใบจะแสดงอาการซีดเหลือง แห้งตาย ถ้าจุดสนิม หรือจุดสาหร่ายเกิดขึ้นที่กิ่ง จะมีความรุนแรงมากกว่าที่ใบ บริเวณที่ถูกทำลายเปลือกจะแตกและแห้ง ทำให้ใบที่กิ่งเหลืองร่วง ต้นทรุดโทรม สาเหตุเป็นเพราะรากเทียมของสาหร่ายเข้าไชชอน ในเนื้อเยื่อ ดูดกินน้ำเลี้ยงและเซลล์เน่าตาย สาหร่าย Cephaleuros virescens Kunze ทำลายพืชได้หลายชนิด มักระบาด ในที่มีความชื้นสูงโดยเฉพาะฤดูฝน สปอร์สามารถปลิวไปกับลม นอกจากนี้น้ำก็เป็น พาหะนำสปอร์ไปสู่ต้นอื่นได้เช่นกัน


การป้องกันและกำจัด

1. ตัดแต่งกิ่งให้แสงแดดส่องทั่วทรงพุ่มเพื่อลดการเกิดโรค

2. ตัดกิ่งที่เป็นโรคเผาทำลาย

3. พ่นสารกำจัดโรคพืชด้วย มาเฟอร์ (mancozeb 80% WP) อัตราใช้ 60-80 กรัม หรือ เดซี่ (propineb 70% WP) อัตรา 60-80 ผสมร่วมกับ แอ็กวิล (hexaconazole 5% W/V SC) อัตรา 30-40 ซีซี. ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่นต่อเนื่อง 2-3 ครั้ง ทุกๆ 7-10 วัน 4. ช่วงตัดแต่งกิ่งหลังการเก็บเกี่ยว พ่นด้วย สปาตั้น (sulfur 80% WG) อัตรา 80 กรัม ต่อน้ำ 20 ลิตร ฉีดพ่น 2-3 ครั้ง



 
© 2000-2008 CopyRight by AG-GRO (Thailand) Co.,Ltd.
Tel. 023082102  Fax. 023082487  Website. www.aggrogroups.com
disclaimer | privacy | contact us

  Sale Login Warehouse Login Driver Login